คณะ/ประเด็นการตรวจราชการ |
เอกสารประเมินโดยผู้รับผิดชอบ |
กลุ่มงานที่รับผิดชอบ |
ผู้รับผิดชอบ |
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ทรัพยากรสาธารณสุข และสถานะสุขภาพ |
1. ข้อมูลทั่วไป ประชากร และทรัพยากรสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุข |
|
พัฒนายุทธศาสตร์ฯ |
อนิรุธ นาคะวิโรจน์ |
2. ข้อมูล CMI, อัตราการครองเตียง (ปีงบประมาณ 2558 – 2560 เต็มปี, ปีงบประมาณ 2561 ณ สิ้นเดือนเมษายน 2561) |
|
ประกันสุขภาพ |
วัทธิกร วัจนขจรกุล |
3. การบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคล (สสจ. / รพ. / รพ.สต.) |
|
ทรัพยากรบุคคล |
สานิตย์ เพชรสุวรรณ์ |
4. ข้อมูลสถิติชีพและสถานะสุขภาพ |
|
พัฒนายุทธศาสตร์ฯ |
อนิรุธ นาคะวิโรจน์ |
5. สถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา |
|
ควบคุมโรคติดต่อ |
เฉลิมชัย แป้นน้อย |
ส่วนที่ 2 แผนยุทธศาสตร์และการบริหารงบประมาณ |
1. แผนยุทธศาสตร์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง (พ.ศ.2559 – 2563) |
|
พัฒนายุทธศาสตร์ฯ |
จุรินทร์ เจริญผล |
2. ปัญหาสาธารณสุข |
|
พัฒนายุทธศาสตร์ฯ |
จิรพงษ์ แสงทอง |
3. แผนพัฒนาสุขภาพจังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2561 |
|
พัฒนายุทธศาสตร์ฯ |
จุรินทร์ เจริญผล |
4. การบริหารงบประมาณ (งบลงทุน/งบค่าเสื่อม) ข้อมูลล่าสุด |
|
พัฒนายุทธศาสตร์ฯ |
อรสา ยิ่วเหล็ก |
5. การบริหารงบประมาณ (งบดำเนินงาน) ข้อมูลล่าสุด |
|
บริหาร |
สาคร อักษรพิมพ์ |
6. การบริหารจัดการงบเหมาจ่ายรายหัว |
|
ประกันสุขภาพ |
ไพลิน ฆังครัตน์ |
ส่วนที่ 3 การดำเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการ |
คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ (12 ตัวชี้วัด) |
1.1 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย |
1. อัตราส่วนการตายมารดาไทย |
|
ส่งเสริมสุขภาพ |
นารถอนงค์ ประดับทรัพย์ |
2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย |
|
ส่งเสริมสุขภาพ |
มานิตา เสรีประเสริฐ |
3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี |
|
ส่งเสริมสุขภาพ |
มานิตา เสรีประเสริฐ |
1.2 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น |
4. ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) |
|
ทันตสาธารณสุข |
ชนิฏาภรณ์ สอนสังข์ |
5. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี |
|
ส่งเสริมสุขภาพ |
นพพร สมจิตต์ |
1.3 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ |
6. ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ |
|
ส่งเสริมสุขภาพ |
สมคิด ฤทธิศักดิ์ |
1.4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ |
7. ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ |
|
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ |
ปิยะมาลย์ ฉ่ำเฉกหงษ์ |
1.5 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ |
8. ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง |
|
พัฒนายุทธศาสตร์ฯ |
ภคณัฎฐ์ ทองขาว |
9. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
ไพฑูรย์ จิตไชยรักษ์ |
10. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
เอกอร สว่างนิพันธ์ |
11. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
ทัฏธภัสส์ มณีชาตรี |
12. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital |
|
อนามัยสิ่งแวดล้อม |
มานพ รามทอง |
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (14 ตัวชี้วัด) |
2.1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ |
13. ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) |
|
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ |
พัชนี อนุมณี |
2.2 การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ |
14. ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery |
|
พัฒนาคุณภาพฯ |
วาสนา ขวัญสกุล |
15. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ |
|
ควบคุมโรคติดต่อ |
เกษณี ไชยเพชร |
16. จำนวนเมืองสมุนไพร อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด |
|
แพทย์แผนไทย |
เกษร จันทร์สวี |
2.3 การพัฒนาระบบบริการ : Health Outcome, Service Outcome |
: Health Outcome |
17. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
วัชราภรณ์ จอมชิตกล่ำ |
18. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
วัชราภรณ์ จอมชิตกล่ำ |
19. อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit) |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
เจริญ ปราบปรี |
: Service Outcome |
20. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก |
|
แพทย์แผนไทย |
สินีนาฎ อนุมณี |
21. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73m2/yr |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
ทัฏธภัสส์ มณีชาตรี |
22. อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อ จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล |
|
พัฒนาคุณภาพฯ |
ละม้าย ชุมพาที |
23. ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังจำหน่าย (3 month remission rate) |
|
ควบคุมโรคไม่ติดต่อ |
จิราภรณ์ เทพหนู |
24. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) และร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR) |
|
คุ้มครองผู้บริโภค |
เอมจิตร สุขสกุล |
25. ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง |
|
พัฒนาคุณภาพฯ |
วาสนา ขวัญสกุล |
26. ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ |
|
ประกันสุขภาพ |
ไพลิน ฆังครัตน์ |
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ (9 ตัวชี้วัด) |
3.1 ระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ |
27. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ |
|
ทรัพยากรบุคคล |
สานิตย์ เพชรสุวรรณ |
28. อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) |
|
ทรัพยากรบุคคล |
สานิตย์ เพชรสุวรรณ |
3.2 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ |
29. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA |
|
นิติการ |
เฉลิม ไตรสุวรรณ์ |
30. ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม |
|
คุ้มครองผู้บริโภค |
เอมจิตร สุขสกุล |
31. ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด |
|
ตรวจสอบภายใน |
โชติ ช่วยเนียม |
32. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข |
|
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ |
ปิยะมาลย์ ฉ่ำเฉกหงษ์ |
33. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 |
|
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ |
อรสา เหล่าเจริญสุข |
34. ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว |
|
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ |
ปิยะมาลย์ ฉ่ำเฉกหงษ์ |
35. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน |
|
ประกันสุขภาพ |
นภาพร เนตรเกื้อกูล |